วันอาทิตย์ที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2556

รถ AGV

AGV คืออะไร
Automated guided vehicle systems (AGV) หมายถึง อุปกรณ์ประเภท AGV มีลักษณะคล้ายอุปกรณ์ประเภท Industrial Truck แตกต่างที่ AGV ถูกควบคุมโดยคอมพิวเตอร์ และถูกกำหนดเส้นทางการเดินทางที่ชัดเจน ไม่ต้องใช้คนขับ
        เรา สามารถสร้างชุดควบคุมอัตโนมัติและสร้างโปรแกรมควบคุมให้ รถยกไฟฟ้า กลายเป็น AGV ทำงานได้อัตโนมัติ ตามระบบการผลิตและการจัดเก็บของบริษัทท่าน สะดวก ปลอดภัย และ ประหยัด ติดตั้งได้ง่าย รวดเร็ว เพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพการใช้งาน หรือ สร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่สินค้า เพื่อรองรับการใช้งานที่เหมาะแก่โลกปัจจุบันและอนาคต
จุดเด่น
สองคัน สองสไตล์  -  two styles เปรียบเทียบ รถ AGV power stacker ที่แล่นอัตโนมัติ ไร้คนขับ และ รถ power stacker ธรรมดาที่มีคนขับ เน้นให้เห็นถึงการพัฒนาระบบอัตโนมัติ เข้ามาแทนที่แรงงานคนในอนาคต
การลงทุนในระบบอัตโนมัติ คือ การลงทุนเพื่อประหยัดในอนาคต

ประสิทฺธิภาพ และ ความปลอดภัย - Efficiency and Safety
เหมาะแก่คลังสินค้าอัตโนมัติ มีประสิทธิภาพ สะดวก สะอาดปลอดภัย จากการขับที่เสี่ยงต่ออุบัติเหตุอันตราย รถจะมีอายุการใช้งานยาวนานขึ้น
การติดตั้งแนวเดินรถ ง่ายและสะดวก สามารถทาสีทับได้โดยไม่เห็นร่องรอยแนวแม้แต่น้อย พื้นอาคารจะยังสะอาดตา ดูมีระเบียบ
เชือมต่อโปรแกรมได้ -  Program connection

การควบคุมด้วยโปรแกรมทำให้รถ สามารถทำงานได้แม่นยำ เที่ยงตรง แม้ในที่แคบ
และโปรแกรมควบคุมรถอัตโนมัติ สามารถเชื่อมต่อกับ PC เพื่อควบคุมระยะไกล หรือ เชื่อมต่อกับระบบการทำงานของเครนจัดเก็บสินค้า ระบบ ASRS เดิม

วันอาทิตย์ที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

รายชื่อสมาชิกไฟฟ้าอุตสาหกรรม56

รายชื่อสมาชิก
1. อาจารย์ ธภัทร   ชัยชูโชค  
 อ.ปาล์ม
2. นายนิโรจน์ หวันปรัตน์   ซอล
3. นายรชต อารี   รอน
4. นายรุสดี วาลี   ซี
5. นายอับดุลเลาะ กาโฮง   เลาะ
6. นาย อภิวัฒน์   เจิมขวัญ   กุ้ง
7. นาย ชัยยงค์   ชูแก้ว 
 ปั๊ม
8. นาย วิโรจน์   เหมมาน   
ลิฟ
9. นาย อาคม   เรืองกูล   
แบงค์
10. นาย อนุพงษ์   เทพพรหม  
 ทิว
11. นายกฤษกร สุวรรณวงศ์   เอฟ
12. นายจตุพงค์ ณ สงขลา   พงค์
13.  นายจิรกิตต์ สุขเกษม   บอย
14.  นายจิรพงศ์ แจ่มศรี   เอฟ
15. นายเชิดชาย เรืองฤทธิ์   ชาย
16. นายตวิษ เพ็งศรี   บ่าว
17. นายธีรวุฒิ ศรีสวัสดิ์   วุฒิ
18. นายนพรัตน์ แก้วกำเนิด   เอ็กซ์
19. นายนันทปรีชา ปิยะ บุญสนอง   โปร
20. นายนิรันดร์ เสมอพบ   แบ
21. นายปภังกร เอียดจุ้ย   กิ๊ฟ
22. นายปรินทร์ ผุดผ่อง   บอล
23. นายพิชชากร มีบัว   กร     
24. นายพีระพงศ์ จันทร์ชู   พงศ์
25. นายภาคภูมิ จุลนวล  เจ
26. นางสาวเยาวเรศ ร่วมพรภาณุ   โรส
27. นายวสุ ราชสีห์   หนัง
28. นายวัชรินทร์ เขียนวารี  ปอนด์
29. นายวิฆเนศ ณ รังษี   หมู
30. นายวิโรจน์ เหมมาน   ลิฟ
31. นายศุภวัฒน์ ไชยของพรม   รุส
32. นายสมประสงค์ วงศ์สุวรรณ   ทู 
33. นายสมศักดิ์ มากเอียด   กล้วย
34. นายสราวุฒิ เกบหมีน  ซอล
35. นายสานิต มิตสุวรรณ   ปอ
36. นายสุรเดช สม่าแห   ยา
37. นายสุรศักดิ์ สะเกษ   โจ้
38. นายเสะมาดี ดูแวดาแม เสะมาดี 
39. นายอนิรุตต์ ภาระบุญ   โต๋
40. นายอภิเดช ทองอินทร์   โหนด
41. นายอภิสิทธิ์ ยะโกบ   ดุล
42. นายอับดุลรอมัน บูกา  รอมัน
43. นายอาจณรงค์ ราชูภิมนต์  มิค
44. นายอานนท์ นาควิเชียร   นนท์
45. นายอาลียะ สะอุ   ฟาน
46. นายอิสมาแอ   มะยี
47. นายจตุรงค์ หิรัญกูล  
 นิว
48. นายเกรียงศักดิ์   บุญประเสริฐ  
 เบียร์
49. นายพุฒิพงศ์   หนูนอง   
เพชร
50.นาย วงศธร อินทมะโน หลวงหมีด




รูปแบบการเชื่อมต่อของเครือข่ายโทโพโลยีแบบสมบูรณ์

     รูปแบบการเชื่อมต่อของเครือข่ายโทโพโลยีแบบสมบูรณ์ (full connected or complete topology)
เป็นการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในเครือข่ายเข้าด้วยกันแบบจุดต่อจุด คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ทุกๆ ตัว มีสายหรือสื่อส่งข้อมูลต่อเฉพาะระหว่างอุปกรณ์แต่ละตัว ทำให้มองดูเหมือนกับว่าระหว่างอุปกรณ์ 2 ตัวมีถนนที่ใช้เฉพาะ 2 อุปกรณ์นั้นๆ  ดังนั้นถ้าเรามีอุปกรณ์ n ตัว แต่ละตัวต้องมีช่องทางสื่อสาร (channel) เท่ากับ n- 1 ช่อง และมีช่องทางทั้งหมดในเครือข่ายเท่ากับ n(n-1)/2 ช่อง ดังแสดงในรูปภาพ
       ข้อดี
(1)  มีความเร็วในการสื่อสารข้อมูลสูง โปรแกรมที่ใช้ในการควบคุมการสื่อสารก็เป็นแบบพื้นฐานไม่ซับซ้อนมากนัก
(2)  สามารถรับส่งข้อมูลได้ปริมาณมากและไม่มีปัญหาเรื่องการจัดการการจราจรในสื่อส่งข้อมูลไม่เหมือนกับแบบที่ใช้สื่อส่งข้อมูลร่วมกัน
(3)  มีความทนทานต่อความเสียหายเมื่อสื่อส่งข้อมูลหรือสายใดสายหนึ่งเสียหายใช้การไม่ได้ ไม่ส่งผลต่อระบบเครือข่ายโดยรวม แต่เกิดเสียหายเฉพาะเครื่องต้นสายและปลายสายเท่านั้น
(4)  ระบบเครือข่ายมีความปลอดภัยหรือมีความเป็นส่วนตัว เมื่อข่าวสารถูกรับส่งโดยใช้สายเฉพาะระหว่าง 2 เครื่องเท่านั้น เครื่องอื่นไม่สามารถเข้าไปใช้สายร่วมด้วย
(5)  เนื่องจากโทโพโลยีแบบสมบูรณ์เป็นการเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุด ทำให้เราสามารถแยกหรือระบุเครื่องหรือสายที่เสียหายได้ทันที ช่วยให้ผู้ดูแลระบบแก้ไขข้อผิดพราดหรือจุดที่เสียหายได้ง่าย
      ข้อเสีย
(1)  จำนวนสายที่ใช้ต้องมีจำนวนมากและอินพุด/เอาต์พุตพอร์ต (i/o port) ต้องใช้จำนวนมากเช่นกัน เพราะแต่ละเครื่องต้องต่อเชื่อมไปยังทุก ๆ เครื่องทำให้การติดตั้งหรือแก้ไขระบบทำได้ยาก
(2)  สายที่ใช้มีจำนวนมาก ทำให้สิ้นเปลืองพื้นที่ในการเดินสาย
(3)  เนื่องจากอุปกรณ์ต้องการใช้อินพุด/เอาต์พุตพอร์ตจำนวนมาก ดังนั้นราคาของอุปกรณ์ต่อเชื่อมจึงมีราคาแพงและจากข้อเสียข้างต้นทำให้โทโพโลยีแบบสมบูรณ์จึงถูกทำไปใช้ค่อนข้างอยู่ในวงแคบ

วันเสาร์ที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

แนวโน้มเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในอนาคต

เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในอนาคต
         บล็อกนี้ผมสนใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในอนาคต เพราะการดำเนินชีวิตของมนุษย์เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ทั้งนั้น เทคโนโลยีในปัจจุบันได้เติบโตขึ้นอย่างรวดเร็วและมีการพัฒนาศักยภาพ ประสิทธิภาพความสะดวกสบาย ความรวดเร็ว ปลอดภัยเพิ่มขึ้นมากเลยทีเดียว โดยเฉพาะใน     ปัจจุบันได้มีการนำเทคโนโลยีมาใช่ในองค์กรทั้งภาครัฐและภาคเอกชนมากขึ้น ทั้งนี้เพราะการเติบโตของเทคโนโลยีและการแข่งขันกันสูง จึงทำให้ในองค์กรต่างๆต้องมีการพัฒนาองค์กรให้เป็นในแบบดิจิตอล หรืออิเลกทรอนิกยิ่งขึ้น เพราะการนำเทคโนโลยีมาใช้ปฏิบัติงานภารกิจต่างๆในองค์กรนั้นสามารถสร้างศักยภาพในการแข่งขันที่สูงขึ้นได้ด้วยเทคโนโลยี เพราะการนำเทคโนโลยีมาใช้ในองค์กรสามารถทำให้การทำงาน การประมวลผลข้อมูลมีความถูกต้อง แม่นยำ และรวดเร็วมากยิ่งขึ้น
ข้อดี  การพัฒนาเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่เชื่อมโยงกันทั่วโลก ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ช่องทางการดำเนินธุรกิจ เช่น การทำธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ การผ่อนคลายด้วยการดูหนัง ฟังเพลง และบันเทิงต่างๆ
การพัฒนาให้คอมพิวเตอร์สามารถฟังและตอบเป็นภาษา พูดได้ อ่านตัวอักษรหรือลายมือเขียนได้ การแสดงผลของคอมพิวเตอร์ได้เสมือนจริง เป็นแบบสามมิติ และการรับรู้ด้วยประสาทสัมผัส เสมือนว่าได้อยู่ในที่นั้นจริง
การพัฒนาระบบสารสนเทศ ฐานข้อมูล ฐานความรู้ เพื่อพัฒนาระบบผู้เชี่ยวชาญและการจัดการความรู้
การศึกษาตามอัธยาศัยด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-learning) การเรียนการสอนด้วยระบบโทรศึกษา (tele-education) การค้นคว้าหาความรู้ได้ตลอด 24 ชั่วโมงจากห้องสมุดเสมือน (virtual library)
ข้อเสีย  ความผิดพลาดในการทำงานของระบบ คอมพิวเตอร์ ทั้งส่วนฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ที่เกิดขึ้นจากการออกแบบและพัฒนา ทำให้เกิดความเสียหายต่อระบบและสูญเสียค่าใช้จ่ายในการแก้ปัญหา 
การละเมิดลิขสิทธิ์ของทรัพย์สินทางปัญญา การทำสำเนาและลอกเลียนแบบ
การก่ออาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ การโจรกรรมข้อมูล การล่วงละเมิด การก่อกวนระบบคอมพิวเตอร์ 
ผลกระทบต่อตัวเราหรือสังคม  สามารถมองไปถึงอนาคตได้ว่าเทคโนโลยีกับองค์กรจะมีความสัมพันธ์กันมากยิ่งขึ้นอย่างแยกไม่ออก องค์กรต้องพึ่งพิงเทคโนโลยีมากขึ้น แต่ในทางกลับกันถ้าเทคโนโลยียังมีการพัฒนาไม่หยุดหย่อน ประชากรพนักงานก็ต้องว่างงานมากขึ้น เพราะอาจไม่จำเป็นต้องพึ่งกำลังคนต่อไป ซึ่งส่วนนี้ก็อาจเป็นอุปสรรคในการนำเทคโนโลยีเข้ามาในองค์กรเช่นกัน แต่ในทางกลับกันอีกในอนาคตพนักงานอาจไม่ต้องมาทำงานถึงบริษัท แค่นั่งเปิดเครือข่ายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่บ้านด้วยคอมพิวเตอร์เครื่องเดียวก็อาจเป็นสิ่งสะดวกในการไม่ต้องเดินทาง ซึ่งเป็นการเอาร์ซอท งานออกไปจากบริษัทเพื่อความรวดเร็วมากยิ่งขึ้น ในอนาคตอาจจะได้เห็นการพัฒนาขององค์กรภาครัฐไปสู่ความเป็นยุคไฮเทคมากยิ่งขึ้นและในเทคโนโลยีด้านต่างๆ  

       แนวโน้มเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในอนาคต


แนวโน้มเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในอนาคต

ที่มา http://tech.mthai.com

วันอาทิตย์ที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

ประวัติส่วนตัว

ชื่อ นาย อาหามะซุบฮี กะแน

ชื่อ เล่น  มะ


ที่อยู่ จังหวัด นราธิวาส


โทรศัพท์ 080-7044536